ธาลัสซีเมีย โรคใกล้ตัวจากภาวะแฝง โรงพยาบาลจุฬาภรณ์ | อาการ โร คธา ลั ส ซี เมีย

ธาลัสซีเมีย โรคใกล้ตัวจากภาวะแฝง โรงพยาบาลจุฬาภรณ์


นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูเพิ่มเติม

มีข้อมูลพบว่า ประชาชนคนไทย 1 ใน 3 หรือกว่า 22 ล้านคน เสี่ยงมียีนโรคธาลัสซีเมียแฝงในตัว โดยที่เป็นภาวะที่เราก็อาจจะไม่รู้ตัว หากไม่มีการตรวจเลือดภาวะแฝงนี้ จนนำไปสู่การถ่ายทอดให้กับลูกน้อยผ่านทางพันธุกรรม ติดตามใน ณัฐชนน Love เลย
การได้รับเลือดอย่างสม่ำเสมอ และการกินยาอย่างต่อเนื่องเพื่อกำจัดธาตุเหล็กที่เกินขนาด เป็นวิธีการสำคัญในการรักษาผู้ป่วยโรคธาลัสซีเมีย หรือ โรคซีด ที่สืบทอดพันธุกรรมผิดปกติมาจากพ่อแม่ โดยที่พ่อแม่ไม่มีอาการซีด เกิดจากการผลิตสารโปรตีนในเม็ดเลือดแดงที่ผิดปกติ ทำให้เม็ดเลือดแดงเปราะแตกสลายตัวง่าย ส่งผลให้เด็กที่ป่วยมีผิวสีซีด เหลือง มีอาการอ่อนเพลียง่าย ท้องบวมเพราะตับโต ไปจนถึงมีโครงสร้างกระดูกใบหน้าผิดปกติ ในเด็กบางรายที่เป็นโรคชนิดรุนแรง อาจถึงขั้นเสียชีวิตตั้งแต่ในครรภ์ หรือหลังคลอดได้ไม่นาน
ปัจจุบัน การรักษาโรคธาลัสซีเมียส่วนใหญ่เป็นการรักษาตามอาการ และป้องกันภาวะแทรกซ้อนที่เกิดจากอาการซีด เช่น การให้เลือด การใช้ยากำจัดธาตุเหล็กเกินขนาด การกินยาเม็ดที่เรียกว่า กรดโฟลิก เพื่อบำรุงเลือด และให้วัคซีนป้องกันโรคต่าง ๆ รวมทั้งป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่
ส่วนในผู้ป่วยเบต้าธาลัสซีเมียชนิดรุนแรง มีวิธีการรักษาให้หายขาดได้ ด้วยการปลูกถ่ายเซลล์ต้นกำเนิดเม็ดเลือด จากผู้บริจาคที่มีหมู่เนื้อเยื่อที่ตรงกัน หรือเข้ากันได้กับผู้ป่วย ซึ่งมักจะเป็นพี่น้องที่สบายดี หรือบางกรณีอาจเป็นอาสาสมัครที่ไม่ใช่ญาติ
ปัจจุบัน ทารกที่เกิดใหม่ในประเทศไทยเป็นโรคธาลัสซีเมียประมาณ 12,000 รายต่อปี จากการสำรวจล่าสุด พบว่า ผู้ป่วยเด็กเกิดใหม่ที่เป็นโรคเบต้าธาลัสซีเมียชนิดรุนแรง มีประมาณ 3,500 รายต่อปี และมีเด็กในครรภ์เป็นโรคอัลฟ่าธาลัสซีเมียชนิดรุนแรง มีประมาณ 800 รายต่อปี โดยภาพรวมคนไทยป่วยด้วยโรคธาลัสซีเมียรวมทุกชนิด ประมาณร้อยละ 1 คือ ประมาณ 600,000 กว่าคน ในจำนวนนี้เป็นผู้ป่วยที่ซีดมาก จำเป็นต้องได้รับเลือดประมาณ 50,000 คน
นอกจากนี้ ยังพบว่ามีประชาชนคนไทยที่มียีนหรือพันธุกรรมโรคนี้แฝงในตัวกว่า 22 ล้านคน หรือประมาณ 1 ใน 3 ของคู่สมรสที่สบายดี ที่พร้อมถ่ายทอดพันธุกรรมนี้ไปสู่บุตรแบบไม่รู้ตัว ดังนั้น แพทย์จึงแนะนำให้มีการตรวจเลือดของภรรยาและสามี เพื่อวิเคราะห์และป้องกันทารกในครรภ์ที่อาจจะป่วยเป็นโรคธาลัสซีเมียชนิดรุนแรงตั้งแต่ระยะเริ่มต้น และจะได้ดูแลรักษาได้อย่างทันท่วงที

ธาลัสซีเมีย โรคใกล้ตัวจากภาวะแฝง โรงพยาบาลจุฬาภรณ์

โรคธาลัสซีเมีย


รายการพบหมอศิริราช เรื่อง โรคธาลัสซีเมีย โดย ศ.ดร.นพ.วิปร วิประกษิต ภาควิชากุมารเวชศาสตร์ คณะเเพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล

โรคธาลัสซีเมีย

พบหมอรามา : “อาหารการกิน” ของผู้ป่วยโรคธาลัสซีเมีย : Rama Health Talk (ช่วงที่ 2) 27.9.2562


พบหมอรามาฯ ช่วง Rama Health Talk (ช่วงที่ 2)
“อาหารการกิน” ของผู้ป่วยโรคธาลัสซีเมีย
อ. พญ.จีรพรรณ โพธิ์สุวัฒนากุล
สาขาวิชาโภชนวิทยา ภาควิชากุมารเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
อ. ดร. พญ.เดือนธิดา ทรงเดช สาขาวิชาโลหิตวิทยาและมะเร็งวิทยา ภาควิชากุมารเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
ออกอากาศวันที่ 27 กันยายน 2562
พบหมอรามาฯ RamaHealthTalk
ติดตามชมรายการ \”พบหมอรามาฯ\” พบกับช่วง \”คุยข่าวเม้าท์กับหมอ\” อัพเดทข่าวสารเรื่องสุขภาพโรคภัยไข้เจ็บ และ ช่วง \” Rama Health Talk\” เรื่องราวสุขภาพที่จะทำให้คุณมีสุขภาพที่ดี ทุกวันจันทร์ วันศุกร์ เวลา 15.3016.30 น. ทาง True Visions42 และ YouTube Rama Channel
ติดตาม Rama Channel ได้ทาง
ติดตามชมรายการต่าง ๆ ของรามาแชนแนลได้ทาง 
Facebook: Rama Channel
YouTube: Rama Channel TV
Website : RamaChannel.tv
True Visions 42
True ID Mobile Application

พบหมอรามา : “อาหารการกิน” ของผู้ป่วยโรคธาลัสซีเมีย  : Rama Health Talk (ช่วงที่ 2) 27.9.2562

\”โรคธาลัสซีเมีย\” มันคืออะไร? หลายคนสงสัยเรามีคำตอบ!! : บันเทิงปากม้า 27/11/59


ติดตามได้ : ทุกวันอาทิตย์ เวลา 14.00 15.00 น.
Rerun : ทุกวันพุธ เวลา 15.00 15.55 น.
ทาง BRIGHT TV ดิจิตอล และ เคเบิลช่อง 20
หรือชมผ่าน live streaming ได้ที่ http://www.brighttv.co.th/th/live

\

ลัดคิวหมอ : โรคธาลัสซีเมีย \u0026 โรคของผู้หญิง : 15.5.2562


ลัดคิวหมอ ออกอากาศวันที่ 15 พฤษภาคม 2562
ปรึกษาปัญหาสุขภาพเกี่ยวกับโรคในเด็ก (เลือดและมะเร็ง) การเลี้ยงดู วัคซีน และ โรคทั่วไป โรคที่เกี่ยวกับคุณผู้หญิง ประจำเดือน ตกขาว มีลูกยาก ปัญหามดลูก วัยทอง
อ. พญ.อรวี ฉินทกานันท์ สาขาวิชาอนามัยการเจริญพันธุ์ ภาควิชาสูติศาสตร์นรีเวชวิทยา
ผศ. นพ.อุษณรัสมิ์ อนุรัฐพันธ์ สาขาวิชาโลหิตวิทยาและมะเร็งวิทยา ภาควิชากุมารเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
ลัดคิวหมอ หมอรามาฯ
เขียนคำถามมาปรึกษาปัญหาสุขภาพกับหมอในรายการ “ลัดคิวหมอ” ทาง Facebook Live ทุกวันจันทร์ ศุกร์ เวลา 15.3016.30 น. และติดตามชมรายการได้ทาง True Visions42 และ YouTube Rama Channel
ติดตาม Rama Channel ได้ทาง
ติดตามชมรายการต่าง ๆ ของรามาแชนแนลได้ทาง 
Facebook: Rama Channel
YouTube: Rama Channel TV
Website : RamaChannel.tv
True Visions 42
True ID Mobile Application

ลัดคิวหมอ : โรคธาลัสซีเมีย \u0026 โรคของผู้หญิง : 15.5.2562

นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูวิธีอื่นๆMOVIE

Leave a Comment