บุญคุณต้นโหนด อ.สทิงพระ จ.สงขลา : ซีรีส์วิถีคน (3 ส.ค. 63) | ผลิตภัณฑ์พื้นบ้าน

บุญคุณต้นโหนด อ.สทิงพระ จ.สงขลา : ซีรีส์วิถีคน (3 ส.ค. 63)


นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูเพิ่มเติม

ที่อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา ชาวบ้านมีความผูกพันธ์กับต้นตาลโตนดมาก เพราะเกิดมาก็เห็นต้นไม้เหล่านี้ขึ้นอยู่มากมายในพื้นที่โดยรอบบ้าน คนที่นี่เรียกต้นตาลโตนด ว่า \”ต้นโหนด\” เป็นการเรียกคำสั้น ๆ เหมือนที่คนปักษ์ใต้ทั่วไปคุ้นเคย ต้นตาลโตนดนี้เป็นต้นไม้ที่ขึ้นตามคันนา ประโยชน์ในอดีตรวมถึงปัจจุบันคือทำหน้าที่แบ่งเขตนาข้าวแทนหมุดที่ราชการทำขึ้นมา เพื่อเป็นการแบ่งพื้นที่แสดงความเป็นเจ้าของ ทั้งในอดีตและปัจจุบันนั้นต้นตาลโตนดถือว่าเป็นไม้ที่เลี้ยงชีพชาวบ้านมารุ่นต่อรุ่น เนื่องจากทุกส่วนของต้นนั้นสามารถเอามาใช้ประโยชน์ได้ทั้งหมด เช่น ลำต้นสามารถเอามาทำคานบ้าน กิ่งก้านสามารถเอามาเป็นรั้ว ในขณะที่ดอก ผล ก็สามารถเอามาเป็นอาหารได้ ชาวบ้านที่อำเภอสทิงพระนั้น ยึดอาชีพการขึ้นตาลโตนดเป็นอาชีพหลักในการดำรงชีพ แม้จะเป็นอาชีพที่ใช้กำลังกายค่อนข้างเหนื่อยและเสี่ยง อีกทั้งต้องอาศัยทักษะเฉพาะตัวในการปีนขึ้นไปเอาน้ำตาล แต่ได้ผลตอบแทนคุ้มค่า สามารถหาเงินเลี้ยงครอบครัวได้อย่างสบายจากอาชีพนี้ คนที่นี่ในสมัยก่อนส่วนใหญ่จะมีรายได้ส่งเสียลูกหลาน เรียนหนังสือจากการทำตาลโตนด แม้ทุกวันนี้คนทำตาลโตนดจะลดน้อยลง แต่ก็ยังมีคนยึดอาชีพทำตาลโตนดด้วยเหตุผลที่ว่า เป็นงานอิสระ เป็นเจ้านายตัวเอง และสามารถหาเงินได้เป็นกอบเป็นกำ นอกจากนี้อาจจะกล่าวได้ว่าอาชีพการทำตาลโตนด เป็นอาชีพของครอบครัวด้วย เพราะว่าส่วนใหญ่แล้วคนที่ยึดอาชีพนี้นั้นจะทำงานช่วยเหลือกันทั้งครอบครัว โดยสามีเป็นคนที่ปีนขึ้นไปเอาน้ำตาลลงมาจากต้น ขณะที่ภรรยาก็ต้องคอยเคี่ยวตาลให้กลายเป็นน้ำผึ้งเพื่อบรรจุขวดหรือปี๊บมาขาย
ติดตามในรายการซีรีส์วิถีคน วันจันทร์ที่ 3 สิงหาคม 2563 เวลา 21.00 21.30 น. ทางไทยพีบีเอส หรือรับชมย้อนหลังได้ทาง http://www.thaipbs.or.th/TheConnect

กด Subscribe
ติดตามรายการดีๆของช่อง ได้ที่ : http://goo.gl/hdy2ye
และ ติดตามไทยพีบีเอสออนไลน์ ได้ที่
Website : http://www.thaipbs.or.th
Facebook : http://www.fb.com/ThaiPBSFan
Twitter : http://www.twitter.com/ThaiPBS
Instagram : http://www.instagram.com/ThaiPBS
LINE : http://www.thaipbs.or.th/AddLINE
YouTube : http://www.youtube.com/ThaiPBS

บุญคุณต้นโหนด อ.สทิงพระ จ.สงขลา : ซีรีส์วิถีคน (3 ส.ค. 63)

การพัฒนากระบวนการผลิตและแปรรูปผลิตภัณฑ์พื้นบ้านจากปลาน้ำจืดของดีตำบลบ้านสา อำเภอแจ้ห่ม จังหวัดลำปาง


การพัฒนากระบวนการผลิตและแปรรูปผลิตภัณฑ์พื้นบ้านจากปลาน้ำจืดของดีตำบลบ้านสา อำเภอแจ้ห่ม จังหวัดลำปาง

ผลิตภัณฑ์ ปลอกหมอนอิงผ้าทอกะเหรี่ยง – กลุ่มผ้าทอพื้นบ้านพุพลูล่าง หมู่ที่ 3


ผลิตภัณฑ์ ปลอกหมอนอิงผ้าทอกะเหรี่ยง
จากกลุ่มผ้าทอพื้นบ้านพุพลูล่าง หมู่ที่ 3
ติดต่อสั่งซื้อที่ 0871551223
กิจกรรมพัฒนาผลิตภัณฑ์ OTOP โดยเครือข่ายองค์ความรู้ KBO จังหวัด
ตามโครงการส่งเสริมกระบวนการเครือข่ายองค์ความรู้ จ.เพชรบุรี
(Knowledge – Based OTOP : KBO)

ผลิตภัณฑ์ ปลอกหมอนอิงผ้าทอกะเหรี่ยง - กลุ่มผ้าทอพื้นบ้านพุพลูล่าง หมู่ที่ 3

\”ผลิตภัณฑ์จักสานจากผักตบชวา\” ไอเดียสร้างสรรค์งานฝีมือหัตถกรรม ของคนในชุมชนคลองบางไทร


ผักตบชวาก็มีคุณค่านะรู้ยัง? ใครจะคิดว่า ‘ผักตบชวา’ ที่ลอยไปลอยมาอยู่ตามคลองสามารถนำสร้างมูลค่าได้!
\”ผลิตภัณฑ์จักสานจากผักตบชวา\” ไอเดียสร้างสรรค์งานฝีมือหัตถกรรมกระเป๋าสานของคนในชุมชนคลองบางไทร เพราะพวกเขามองเห็นคุณค่าของผักตบชวาที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้
จนกลายเป็นสินค้าที่ชาวต่างชาติชื่นชมและชื่นชอบในฝีมือคนไทย ที่สำคัญ คิง เพาเวอร์ ได้มอบโอกาสและพื้นที่ให้คนในชุมชนคลองบางไทรได้แสดงฝีมือในการสร้างผลงานที่เป็นเอกลักษณ์และโดดเด่นสู่สากลอีกด้วย
เห็นมั้ยล่ะครับว่า \”บางครั้ง..สิ่งใกล้ตัวที่เรามองว่าไร้ค่า แต่กลับสร้างคุณค่าและรายได้ที่มั่นคงและยั่งยืน
KingpowerThaipower
พลังคนไทย
บริษัทคนไทยที่เชื่อในศักยภาพของคนไทย

\

วิธีติดตั้งแผ่นพื้นสมาร์ทบอร์ด ดูร่าบอร์ด วีว่าบอร์ด


ดูร่าบอร์ด สมาร์ทบอร์ด งานเปลี่ยนพื้นบ้าน
สนใจติดต่องาน 0954681044
ช่างอยู่ อ.เมือง จ.ชัยภูมิ นะคะ
หรือติดตามเพจ แม่น้องซัน ปันงานสร้าง
https://www.facebook.com/แม่น้องซันปันงานสร้าง103782345182474/

วิธีติดตั้งแผ่นพื้นสมาร์ทบอร์ด ดูร่าบอร์ด วีว่าบอร์ด

นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูวิธีอื่นๆMOVIE

6 thoughts on “บุญคุณต้นโหนด อ.สทิงพระ จ.สงขลา : ซีรีส์วิถีคน (3 ส.ค. 63) | ผลิตภัณฑ์พื้นบ้าน”

  1. Having read this I believed it was rather informative.
    I appreciate you taking the time and energy to put this article together.
    I once again find myself spending way too much
    time both reading and leaving comments. But so what,
    it was still worthwhile!

    Reply

Leave a Comment