Table of Contents
\”เบาหวาน\” ป้องกันได้จริงหรือ? | เฮลธิแมกซ์
นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูเพิ่มเติม
เทคนิคใหม่ง่ายๆ ในการดูแลและป้องกันตนเองจาก..โรคเบาหวาน
ปัจจุบันประเทศไทยมีประชากรวัยผู้ใหญ่เป็นโรคเบาหวานถึง 4.8 ล้านคน พบว่าอัตราการเสียชีวิตจากโรคเบาหวานในประเทศไทยมีมากถึง 200 รายต่อวัน ซึ่งโรคเบาหวานหากดูแลรักษาไม่ดีอาจทาให้เกิดภาวแทรกซ้อนตามมา
ทางสมาพันธ์เบาหวานนานาชาติและองค์การอนามัยโลก จึงได้จัดตั้งวันเบาหวานโลกขึ้นมา โดยกำหนดให้ตรงกับ วันที่ 14 พฤศจิกายน ของทุกปี ดังนั้นเรามาทำความรู้จักกับโรคเบาหวาน การดูแล และป้องกันให้มากขึ้นเพื่อดูแลสุขภาพคนใกล้ตัวที่เรารัก💙
.
📌คลิปวิดีโอนี้จัดทำขึ้น โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ความรู้ แก่บุคคลทั่วไป บริษัทฯ ขอสงวนสิทธิ์ในการนำคลิปวิดีโอนี้ไปตัดต่อ ดัดแปลงสำหรับการเผยแพร่เพื่อประโยชน์ในทางการค้า โดยทุกท่านสามารถรับชมคลิปวิดีโอฉบับเต็มผ่านทาง ช่องทาง HealthyMax Channel
วันเบาหวานโลก
โรคเบาหวาน
WorldDiabetesDay
HealthyMax
สุขภาพดีทุกจังหวะชีวิต
HealthyMaxMarket
โรงพยาบาลศิริราชปิยมหาราชการุณย์
ศูนย์การแพทย์กาญจนาภิเษก
โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์อินเตอร์เนชั่นแนล
โรงพยาบาลพระรามเก้า
ศูนย์การค้าพาราไดซ์พาร์ค
ไอคอนสยาม
.
อย่าลืม! กดติมตาม \u0026 กดไลค์กดแชร์ 👇
Youtube : HeathyMaxChanel https://bit.ly/3hC33eD
.
ONLINE SHOP สินค้าคัดสรร ครบครันห่วงใย ใส่ใจสุขภาพ
ได้ที่…healthymaxmarket.com https://bit.ly/2XJcMaR
.
💬สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้จากเภสัชกร
และทีมงานร้านเฮลธิแมกซ์ทุกสาขา หรือช่องทาง Online
.
Facebook : Healthymax Club http://bit.ly/2QBWoUu
Line : @HealthyMax https://bit.ly/3eZO3Wi
Instagram : healthymax.club https://bit.ly/3cCW1mW
📞Call Connect : 02 138 3838
วิธีป้องกันโรคเบาหวาน ทำไมคนผอมถึงเป็นเบาหวานได้
ติดตามสาระเพื่อเบาหวานและสุขภาพได้ทาง
เว็บไซต์ : https://sugarfreedomth.com
เฟสบุค https://www.facebook.com/sugarfreedomth
สั่งซื้ออีบุคส์ สมัครคอร์ส นัดปรึกษา ติดต่อทาง Line : @drpor : https://lin.ee/lGmqrhx
5 เคล็ดลับ ป้องกันโรคเบาหวาน ที่หลายคนไม่รู้ | เม้าท์กับหมอหมี EP.59
5 เคล็ดลับ ป้องกันโรคเบาหวาน ที่หลายคนไม่รู้
📌เครื่องวัดน้ำตาลในเลือด : https://bit.ly/37jd7FN
📌แผ่นตรวจน้ำตาล : https://bit.ly/3jhuXOI
📌แผ่นตรวจและเข็มเจาะเลือด : https://bit.ly/3ChKpDu
โรคเบาหวาน เกิดจากตับอ่อนผลิตฮอร์โมนอินซูลินได้น้อยลง ส่งผลทำให้น้ำตาลในเลือดสูงขึ้น จนกลายเป็นโรคเบาหวาน ซึ่งปัจจัยที่ทำให้เกิดโรคเบาหวาน แบ่งได้ 2 ประเภท คือ ปัจจัยที่แก้ไขได้ และปัจจัยที่แก้ไขไม่ได้
ปัจจัยที่แก้ไขไม่ได้ คือ อายุ และ กรรมพันธุ์ เมื่ออายุมากขึ้น ตับอ่อนก็จะเสื่อมไปตามวัย โอกาสที่จะเป็นโรคเบาหวานก็จะมากขึ้น และกรรมพันธุ์ ใครที่มีพ่อ แม่ พี่ และน้อยเป็นโรคเบาหวาน โอกาสที่ตนเองจะเป็นโรคเบาหวานจะมีมากกว่าผู้อื่น
แต่ก็ยังมีหลายปัจจัยที่สามารถแก้ไขได้ ดังนั้นคลิปนี้หมอหมีเลยจะมาแนะนำ เคล็ดลับหรือวิธีการป้องกันโรคเบาหวาน ที่หลายคนยังไม่ทราบ ให้ได้นำไปปฏิบัติกัน
1. ลดน้ำหนัก คุมBMI ให้น้อยกว่า 25
2. ออกกำลังกายสม่ำเสมอ
3. งดอาหารหวานๆ เช่น เค้ก คุ้กกี้ โดนัท ฝอยทอง ทองหยิบ น้ำหวาน เป็นต้น
4. ลดแป้ง ลดข้าว ทานผักให้มากขึ้น
5. ลดของมันของทอด และอาหารไขมันสูง หรือ คอเลสเตอรอลสูง
ถูกใจคลิปนี้ อย่าลืม กดLike กดแชร์ กดSubscribe กดกระดิ่ง ติดตามช่อง \”หมอหมีเม้าท์มอย\” กันด้วยนะครับ
ติดตามผลงาน \”หมอหมีเม้าท์มอย\” ได้ที่
Youtube : http://www.youtube.com/c/หมอหมีเม้าท์มอย
Facebook : https://www.facebook.com/MhomheeTalks/
IG : MhoMheeTalk
หมอหมีเม้าท์มอย หมอหมีมีคำตอบ โรคเบาหวาน ป้องกันเบาหวาน ลดน้ำตาลในเลือด @หมอหมี เม้าท์มอย
เบาหวาน ป้องกันได้ เคล็ดลับสุขภาพดี กับ หมอแอมป์ [Dr. Amp Guide👨⚕️ \u0026 Dr.Amp Podcast]
โรคเบาหวาน ป้องกันได้ รู้จักกับโรคเบาหวานให้มากขึ้น ทั้งสาเหตุ ที่มาและความเสี่ยง รวมถึงวิธีการเลือกทานอาหาร และเคล็ดลับอื่นๆ ในการป้องกันตัวเอง
ในรายการ Dr.Amp Podcast เรื่องเล่าสุขภาพดี กับ หมอแอมป์
ตอน \”เบาหวาน ป้องกันได้
\” โดย นพ. ตนุพล วิรุฬหการุญ
ประธานเจ้าหน้าที่ปฏิบัติการ และ ผู้อำนวยการ BDMS Welness Clinic
ผู้อำนวยการ RoyalLife โรงพยาบาลกรุงเทพ
นายกสมาคมแพทย์ฟื้นฟูสุขภาพและส่งเสริมการศึกษาโรคอ้วน กรุงเทพ (BARSO)
ชนิดของโรคเบาหวาน 05:10
อาการของโรคเบาหวาน 12:41
โรคแทรกซ้อนจากเบาหวาน 29:27
การวิจัยเกี่ยวกับโรคเบาหวาน 30:28
การดูแลป้องกันโรคเบาหวาน 47:23
🌐 http://www.dramp.com
➡️ Instagram: DrAmp Team
➡️ Spotify: Dr.Amp Team
© drampCopyright 2020
เทปนี้มีลิขสิทธิ์ ห้ามนำไปใช้โดยไม่ได้รับอนุญาต มีผลในทางกฏหมาย
ปล.เป็นคลิปให้คำแนะนำแก่ผู้รักสุขภาพที่ยังไม่ป่วยและต้องการป้องกันโรคให้ตัวเอง สำหรับผู้ที่มีโรคแล้วยังไม่ควรทำตามและควรปรึกษาแพทย์ประจำตัวก่อนนะครับ ด้วยความปรารถนาดีจาก หมอแอมป์
แหล่งอ้างอิง
1. American Diabetes Association, 2013. Diagnosis and classification of diabetes mellitus. Diabetes care, 36(Suppl 1), p.S67.
2. Daneman, D., 2006. Type 1 diabetes. The Lancet, 367(9513), pp.847858.
3. Chatterjee, S., Khunti, K. and Davies, M.J., 2017. Type 2 diabetes. The Lancet, 389(10085), pp.22392251.
4. World Health Organization, 2021. Diabetes. [Online] Available at: https://www.who.int/healthtopics/diabetestab=tab_1 [Accessed 17 January 2021].
5. Booth, F.W., Gordon, S.E., Carlson, C.J. and Hamilton, M.T., 2000. Waging war on modern chronic diseases: primary prevention through exercise biology. Journal of applied physiology, 88(2), pp.774787.
6. Pan, X.R., Li, G.W., Hu, Y.H., Wang, J.X., Yang, W.Y., An, Z.X., Hu, Z.X., Xiao, J.Z., Cao, H.B., Liu, P.A. and Jiang, X.G., 1997. Effects of diet and exercise in preventing NIDDM in people with impaired glucose tolerance: the Da Qing IGT and Diabetes Study. Diabetes care, 20(4), pp.537544.
7. Tuomilehto, J., Lindström, J., Eriksson, J.G., Valle, T.T., Hämäläinen, H., IlanneParikka, P., KeinänenKiukaanniemi, S., Laakso, M., Louheranta, A., Rastas, M. and Salminen, V., 2001. Prevention of type 2 diabetes mellitus by changes in lifestyle among subjects with impaired glucose tolerance. New England Journal of Medicine, 344(18), pp.13431350.
8. American Diabetes Association. Gestational diabetes mellitus. Diabetes care. 2004 Jan 1;27(suppl 1):s8890.
9. Yao K, Bian C, Zhao X. Association of polycystic ovary syndrome with metabolic syndrome and gestational diabetes: Aggravated complication of pregnancy. Experimental and therapeutic medicine. 2017 Aug 1;14(2):12716.
10. Harding JL, Pavkov ME, Magliano DJ, Shaw JE, Gregg EW. Global trends in diabetes complications: a review of current evidence. Diabetologia. 2019 Jan 1;62(1):316.
11. Abdullah, N., Attia, J., Oldmeadow, C., Scott, R.J. and Holliday, E.G., 2014. The architecture of risk for type 2 diabetes: understanding Asia in the context of global findings. International journal of endocrinology, 2014.
12. Tang, Z., Fang, Z., Huang, W., Liu, Z., Chen, Y., Li, Z., Zhu, T., Wang, Q., Simpson, S., Taylor, B.V. and Lin, R., 2016. Nonobese diabetes and its associated factors in an underdeveloped area of South China, Guangxi. International journal of environmental research and public health, 13(10), p.976.
13. Manning AK, Hivert MF, Scott RA, Grimsby JL, BouatiaNaji N, Chen H, Rybin D, Liu CT, Bielak LF, Prokopenko I, Amin N. A genomewide approach accounting for body mass index identifies genetic variants influencing fasting glycemic traits and insulin resistance. Nature genetics. 2012 Jun;44(6):65969.
14. Li H, Gan W, Lu L, Dong X, Han X, Hu C, Yang Z, Sun L, Bao W, Li P, He M. A genomewide association study identifies GRK5 and RASGRP1 as type 2 diabetes loci in Chinese Hans. Diabetes. 2013 Jan 1;62(1):2918.
15. Scott LJ, Mohlke KL, Bonnycastle LL, Willer CJ, Li Y, Duren WL, Erdos MR, Stringham HM, Chines PS, Jackson AU, ProkuninaOlsson L. A genomewide association study of type 2 diabetes in Finns detects multiple susceptibility variants. science. 2007 Jun 1;316(5829):13415.
16. Takeuchi F, Serizawa M, Yamamoto K, Fujisawa T, Nakashima E, Ohnaka K, Ikegami H, Sugiyama T, Katsuya T, Miyagishi M, Nakashima N. Confirmation of multiple risk Loci and genetic impacts by a genomewide association study of type 2 diabetes in the Japanese population. Diabetes. 2009 Jul 1;58(7):16909.
17. Nagy R, Boutin TS, Marten J, Huffman JE, Kerr SM, Campbell A, Evenden L, Gibson J, Amador C, Howard DM, Navarro P. Exploration of haplotype research consortium imputation for genomewide association studies in 20,032 Generation Scotland participants. Genome medicine. 2017 Dec 1;9(1):23.
Reference เพิ่มเติมใน comment
ผู้ป่วยเบาหวานกับการฉีดวัคซีนป้องกันโควิด l Vejthani Podcast
ถ้าชอบคลิปนี้ Subscribe now :
http://bit.ly/39L5Osk
ผู้ป่วยเบาหวาน เป็น 1 ในกลุ่ม 7 โรคประจำตัวที่จะได้ฉีดวัคซีนตั้งแต่วันที่ 7 มิ.ย.นี้ แต่ในบางคนยังกลัวว่าหากฉีดไปแล้ว จะส่งผลข้างเคียงรุนแรงหรือไม่ แล้วต้องหยุดยาก่อนฉีดรึปล่าว มาฟังคำตอบจาก พญ.สมพร วงศ์เราประเสริฐ อายุรแพทย์เฉพาะทางด้านเบาหวาน โรงพยาบาลเวชธานีกันค่ะ
_______________________________________________________________________
นัดหมายแพทย์ออนไลน์ : http://bit.ly/1XIXQAR
ปรึกษาแพทย์ออนไลน์ : http://bit.ly/1SepT9E
ติดต่อสอบถามเพิ่มเติม : โทร. 027340000
_______________________________________________________________________
🔻 ติดตามความรู้ด้านสุขภาพกับเราได้ที่
◾️ Spotify Podcast : http://spoti.fi/3a8oC3L
◾️ Line (@Vejthani) : https://bit.ly/2SsDFgs
◾️ IG : https://www.instagram.com/vejthani.ho…
◾️ Twitter : https://twitter.com/Vejthani
◾️ Website : https://www.vejthani.com/th
◾️ Make an Appointment : https://bit.ly/2BSgpUe
_______________________________________________________________________
นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูบทความเพิ่มเติมในหมวดหมู่MOVIE